วันพฤหัสบดีที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558

บทนำ

บทนำฟิสิกส์ <การวัด>

การวัด
จะต้องประกอบด้วย
1. วิธีการวัดที่ถูกต้อง
2. เครื่องมือวัดที่เหมาะสม
3. ผู้วัดที่มีความรู้ความสามารถ
4. สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
การแสดงผลการวัด ต้องแสดงตัวเลขที่อ่านได้จากเครื่องมือวัดทุกตัวที่สามารถอ่านได้ และเพิ่มค่าที่ปริมาณหรือคาดเดาที่ตัวเลขสุดท้ายอีก 1 ตำแหน่ง
หน่วยการวัด
1. หน่วยฐานเอสไอ เป็นหน่วยมาตรฐานที่นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกใช้ เรียกว่า หน่วยระหว่างชาติ (International System of Units) หรือหน่วยเอสไอ มีทั้งหมด 7 หน่วย
อ่านเพิ่มเติม

การเคลื่อนที่เเนวตรง

  ความรู้เกี่ยวกับ  แรง  การเคลื่อนที่  และพลังงาน  เป็นพื้นฐานที่สำคัญของวิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์ซึ่งมุ่งศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน  ทำให้เราเข้าใจปรากฏการณ์ต่างๆ  ในธรรมชาติรอบตัว  รวมทั้งสถานการณ์ต่างๆ  ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน  เช่น  การเคลื่อนที่ของสิ่งต่างๆบนโลก  ภายใต้สนามของแรงโน้มถ่วง  สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก  องค์ประกอบและสมบัติของคลื่นกล  และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  กัมมันตภาพรังสีและพลังานนิวเคลียร์  ซึ่งนักเรียนจะได้ศึกษารายละเอียดต่อไปในหนังสือเล่มนี้  ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการต่างๆของฟิสิกส์จะช่วยให้นักเรียนสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันและในการทำงานต่างๆมากมาย  รวมถึงเป็นพื้นฐานในการศึกษาวิทยาศาตร์สาขาอื่นๆ  อย่างกว้างขวางอีกด้วย
อ่านเพิ่มเติม

เเรงเเละกฏการเคลื่อนที่

แรง เป็นพื้นฐานความเขาใจในกฎของนิวตัน แรงดึงและแรงผลัก เมื่อเราเขนเครื่องตดหญ้า เราออกแรงผลกมัน เมื่อดึงลิ้นชักโต๊ะ เราออกแรงดึง เมื่อเราหยอนวัตถุ จะตกลงดวยแรงที่ดึงจากสนามโน้มถ่วงโลก แต่แรงไม่จำเป็นตองทำให้ ว้ตถุ เคลื่อนที่ เช่นหนังสือที่ วางนิ่งๆ อยู่บนโต๊ะจะ มีแรงโน้มถ่วงดึงอยู่ตลอดเวลา  แรงไม่ไดเป็นคุณสมบัติ ของวัตถุ อย่างเช่นมวลแต่เป็นปฏิสัมพันธ์ ของวัตถุกับสิ่ง ภายนอกแรงที่ กระทำกับวัตถุมาจากสิ่งภายนอกที่ ไม่ใช่ตัววัตถุเอง เช่นเราเข็นให้รถเคลื่อน เป็นผลจากปฏิสัมพันธ์ ระหว่างคนและรถ  แรงโน้มถ่วงที่รักษาให้ดวงจันทร ์โคจรรอบโลกเป็นปฏิสัมพันธ ์ของโลกและดวงจันทร
อ่านเพิ่มเติม

การเคลื่อนที่เเบบต่างๆ

การเคลื่อนที่ของวัตถุต่างๆ รอบตัวเรา อาจจะเป็นการเคลื่อนที่แนวตรง หรืออาจเป็นแนวโค้ง เช่น ลูกบาสเกต- บอลที่ ก าลังลอยเข้าห่วง สายน ้าที่พุ่งออกจากหัวฉีด ลูกบอลที่ถูกเตะลอยไปในอากาศ การเลี้ยวของรถเมื่อเข้าทางโค้ง การหมุนของ ใบพัดลม เป็นต้น ในบทนี้เราจะได้ศึกษาการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ได้แก่ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบ วงกลม และการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย 1. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ (projectile motion) การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุอย่างอิสระโดยมีแรงเนื่องจากแรงดึงดูดของโลกมา กระท า เพียงแรงเดียวเท่านั้น เป็นการเคลื่อนที่ที่มีวิถีการเคลื่อนที่แบบวิถีโค้ง เช่น การขว้างหรือยิงวัตถุออกไป
อ่านเพิ่มเติม